วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559

แบบทดสอบ

แบบทดสอบ เคมี

1. ข้อใดคือความหมายของธาตุ

ก. สารบริสุทธิ์เนื้อเดียว
ข. สารประกอบเนื้อเดียว
ค. สารบริสุทธิ์เนื้อเดียวประกอบไปด้วยอะตอมชนิดเดียวกัน
ง. สารบริสุทธิ์เนื้อเดียวที่เกิดจากการรวมกันทางเคมีระหว่างธาตุต่างชนิดกัน

2. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการสร้างตารางธาตุของเมนเดลีฟ

ก. จัดธาตุเป็นตารางเรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก
ข. สมบัติต่างๆของธาตุสัมพันธ์กับมวลอะตอม เรียกว่า กฏพีริกออกดิก
ค. ตารางพีริกออดิกจัดธาตุตามสมบัติที่คล้ายกันให้อยู่ในหมู่เดียวกัน
ง. ถูกทุกข้อ

3. ตารางธาตุฉบับปัจจุบันยึดถือตามแบบฉบับบของนักวิทยาศาสตร์คนใด

ก. โยฮันน์ โดเบอร์ ไรเนอร์
ข. จอห์น นิวแลนด์
ค. ดิมิทรี อิวาโนริช เมนเดลีฟ
ง. เฮนรีย์ โมสรีย์

4. ข้อใดถูกต้อง

ก. การแบ่งธาตุในแนวดิ่งเรียกว่า หมู่ (Grop) และธาตุในแนวนอนเรียกว่า คาบ (Period)
ข. ธาตุกลุ่ม A เรียกว่า ธาตุเรฟรีเซนเตตีฟอยู่ทางซ้ายและขวาของตารางธาตุ
ค. ธาตุกลุ่ม B เรียกว่า ธาตุแทรนซิชันอยู่ตรงกลางของตารางธาตุ
ง. ถูกทุกข้อ

5. ข้อใดไม่ถูกต้อง

ก. ธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกัน จะมีวาเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน
ข. ธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกันจะมีระดับพลังงานเท่ากัน
ค. ธาตุที่อยู่ทางซ้ายและตรงกลางในตารางธาตุจัดเป็นโลหะ
ง. ธาตุกึ่งโลหะในตารางธาตุได้แก่ B , Si , Ga , Sb, Po

วันอังคารที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559

พลังงานไอออไนเซชัน

พลังงานไอออไนเซชัน


   พลังงานไอออไนเซชัน (ionization energy : IE) หมายถึงพลังงานที่น้อยที่สุดที่ใช้เพื่อทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมในสถานะแก๊สกลายเป็นไอออนในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้โฮโดรเจนอะตอมกลายเป็นไฮโดรเจนไอออนในสถานะแก๊ส  อ่านเพิ่มเติม


รัศมีไอออน

รัศมีไอออน




   อะตอมซึ่งมีจำนวนโปรตอนเท่ากับอิเล็กตรอน เมื่ออะตอมรับอิเล็กตรอนเพิ่มเข้ามาหรือเสียอิเล็กตรอนออกไป อะตอมจะเปลี่ยนไปเป็นไอออน  อ่านเพิ่มเติม


ขนาดของอะตอม

ขนาดของอะตอม

  จากการศึกษาการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ ช่วยให้ทราบว่าตารางธาตุในปัจจุบันจัดเป็นหมู่และคาบโดยอาศัยสมบัติบางประการที่คล้ายกัน สมบัติของธาตุตามหมู่และคาบ  อ่านเพิ่มเติม

ตารางธาตุ

ตารางธาตุ



   เนื่องจากปัจจุบันนักเคมีพบว่า การจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุมีส่วนสัมพันธ์กับสมบัติต่าง ๆ ของธาตุ กล่าวคือ ถ้าเรียงลำดับธาตุตามเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก จะพบว่าธาตุที่มีสมบัติคล้ายคลึงกันเป็นช่วง ๆ ตามลักษณะของการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุนั้น ดังนั้นในปัจจุบันจึงจัดตารางธาตุโดยเรียงตามเลขอะตอมจากน้อยไปมาก  อ่านเพิ่มเติม

การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม

การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม


    จากแบบจำลองอะตอมโดยใช้สมการคลื่น ซึ่งเป็นสมการคณิตศาสตร์ขั้นสูงคำนวณค่าพลังงานองอิเล็กตรอน พบว่าโปรตอนและนิวตรอนอยู่รวมกันในนิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนอยู่รอบ ๆ โดยอยู่ในระดับพลังงานต่าง ๆ กัน ซึ่งพบความสัมพันธ์ดังนี้  อ่านเพิ่มเติม

แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก


   เนื่องจากแบบจำลองอะตอมของโบร์ (Niels Bohr) มีข้อจำกัดที่ไม่สามารถใช้อธิบายสเปกตรัมของอะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอน ได้มีการศึกษาเพิ่มเติมจนได้ข้อมูลที่เชื่อว่าอิเล็กตรอน  อ่านเพิ่มเติม

แบบจำลองอะตอมของโบร์

แบบจำลองอะตอมของโบร์


   นักวิทยาศาสตร์ได้พยายามศึกษาเรื่องเกี่ยวกับอะตอม โดยได้เสนอแบบจำลองอะตอมจากการทดลองที่เกิดขึ้น ซึ่งแบบจำลองของรัทเธอร์ฟอร์ดได้รับการยอมรับแต่ก็ยังไม่สมบูรณ์ จึงมีผู้พยายามหาคำอธิบายเพิ่มเติม   อ่านเพิ่มเติม

แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด



   ในปี พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911) ลอร์ดเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด (Lord Ernest Rutherford) ได้ศึกษาแบบจำลองอะตอมของทอมสัน และเกิดความสงสัยว่าอะตอมจะมีโครงสร้างตามแบบจำลองของทอมสันจริงหรือไม่ โดยตั้งสมมติฐานว่า   อ่านเพิ่มเติม

แบบจำลองอะตอมของทอมสัน

แบบจำลองอะตอมของทอมสัน


ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้มีการค้นพบรังสีชนิดหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า รังสีแคโทด (cathode ray) ที่ได้จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ชื่อ Julius Plicker ซึ่งใช้หลอดแก้วที่สูบอากาศออก และมีอิเล็กโตรด 2 อันอยู่คนละข้าง (แอโนดเป็นขั้วไฟฟ้าบวก และแคโทดเป็นขั้วไฟฟ้าลบ) ของหลอดแก้ว  อ่านเพิ่มเติม

แบบจำลองอะตอมของดอลตัน

แบบจำลองอะตอมของดอลตัน



     ปรากฏเป็นหลักฐานว่า นักปราชญ์กรีกชื่อ เดโมคริตุส ( Democritus ) ได้ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างของสสารไว้เป็นครั้ง แรกเมื่อราว 400ปีก่อนค.ศ.เขากล่าวว่าสสารทุกชนิดประกอ  อ่านเพิ่มเติม